วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
8 พฤศจิกายน 2555 วิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
การคำนวณของเด็กอนุบาล
การวัด=
เปรียบเทียบ = คำนวณ
เด็กอนุบาลจะคำนวณจากการดูสิ่งของอะไรที่ยาวกว่าและอะไรที่สั้นกว่า
และถ้าเด็กอยู่ในระดับที่สูงมากขึ้นจะต้องคำนวณโดยตัวเลข เช่น 6-3=3เป็นต้น
- เด็กแรกเกิด-2จะใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- อายุ2-4เด็กเริ่มใช้ภาษาได้มากขึ้นแล้วอาจจะพูดได้หรือจำได้แบบสั้นๆ
- อายุ4-6ใช้ภาษาได้ยาวและมากขึ้นกว่าเดิมแต่ยังคงใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัด
และเด็กจะเริ่มใช้เหตุผลเด็กสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์หรือตอบตามที่ตาเห็น
พฤติกรรมของเด็ก คือ ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง
5แล้วจะส่งข้อมูลไปยังสมองเพื่อเก็บและบันทึก
ฝึกประสบการณ์ให้เด็กเยอะๆและจะเกิดความรู้ใหม่ๆขึ้นมาแล้วจะเกิดเป็นความรู้ใหม่ต่อไป
อะไรที่เป็นคณิตศาสตร์ในห้องเรียน
โต๊ะ - รูปทรง
หน้าต่างประตู
- รูปทรง
จำนวนเงิน -
ค่าเงิน
หลอดไฟ -
รูปทรง , จำนวน
กระเป๋า -
รูปทรง , รูปร่าง, น้ำหนัก , ความยาว, ความกว้าง
การนับจำนวน
แล้วรู้ค่า เขียนด้วยตัวเลข เป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ (เลขฮินดูอารบิก)การเปรียบเทียบรูปทรงกับขนาดที่แตกต่างกันต้องใช้การคำนวณ
เมื่อเราเห็นสิ่งของก็จะเกิดการ เปรียบเทียบ เมื่อเห็นสิ่งของใหญ่กว่า
เล็กกว่าแล้วก็จะเกิดการคำนวณเพื่อให้รู้ว่าใหญ่เล็กกว่าเท่าไหร่ การให้เด็กเกิดการเรียนรู้ต้องให้เด็กได้จับต้องของจริง
คณิตศาสตร์จะไม่เกิดขึ้นถ้าภาษายังบกพร่องเพราะภาษาจะเป็นตัวเผยแพร่ให้คณิตศาสตร์ออกไป4-6 ปี
เด็ดเริ่มใช้เหตุผลจึงสามารถสอนแบบคิดได้เป็นการใช้ความสัมพันธ์จากประสบการณ์เดิมมาตามที่ตามองเห็น
เช่น น้ำ 1แก้ว เทใส่ในแก้วทรงสูงและเตี้ย เมื่อเทน้ำในแก้วสูงจะระดับสูงกว่าทรงเตี้ยและหากเด็กมองว่าทรงสูงมากกว่าทรงเตี้ยแสดงว่าเด็กใช้การคิดตามที่ตามองเห็น
แต่ถ้าเด็กบอกว่าเท่ากันแสดงว่าเด็กให้เหตุผล
ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
รูปทรง คือโครงสร้างของสิ่งต่างๆ ประกอบด้วยด้าน 3 ด้าน คือ ด้านกว้าง ด้าน ยาว ด้านหนา เรียกว่า รูป 3 มิติรูปทรงสามารถวัดขนาดและปริมาตรได้ เช่นรูปทรงสี่เหลี่ยม ทรงกลม ทรงสามเหลี่ยมเป็นต้น
รูปแบบ คือ แบบอย่างของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สร้างหรือทำซ้ำ
เป็นตัวอย่างเพื่อการเลียนแบบ เป็นแผนภูมิหรือรูปสามมิติซึ่งเป็นตัวแทนของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลักการหรือแนวคิดที่มีความสัมพันธ์กัน
ประเภททางคณิตศาสตร์
-รูปทรง
-จำนวน ค่าของจำนวน
-น้ำหนัก
-ขนาด ความจุ ปริมาณ
-พื้นผิว รูปแบบ
วันจันทร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)